ความรุนแรงที่ปาตานีเพิ่มขึ้นเมื่อการเจรจาสันติภาพสูญเสียทิศทาง

KEKERASAN MENINGKAT DI PATANI BILA MANA RUNDINGAN DAMAI KEHILANGAN ARAH .วารสาร SURAT ฉบับที่ 113 กุมภาพันธ์ 2568…

การวิเคราะห์ผลงานของสุรินทร์ พิศสุวรรณ และอิมรอน มะลูลีม ต่อความเข้าใจปัญหาปาตานี/ชายแดนภาคใต้

แนวคิดชาตินิยมมลายูในภาคใต้ของไทยไม่ได้เป็นเพียงแค่การเรียกร้องเอกราชหรือการแยกตัวออกจากรัฐไทยเท่านั้น แต่เป็นผลมาจากกระบวนการสร้างรัฐชาติไทยที่รวมศูนย์อำนาจและพยายามกลืนกลายอัตลักษณ์ท้องถิ่น

จากปาตานีสู่มินดาเนา การเดินทางที่ไม่ได้มีเพียงเรา

ทความนี้เป็นบันทึกการเดินทางของผู้เขียนไปยังเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อติดตามสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์และขบวนการปลดแอกบังซาโมโร (Bangsamoro)

เงาอำนาจรัฐและแรงต้านปฏิบัติการ BRN กับบทบาท อส. ในสมรภูมิปาตานี

เกิดเหตุการณ์การข่มขู่และโจมตีต่ออาสาสมัครรักษาดินแดน (อส.) อย่างต่อเนื่องในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนภาคใต้

บทวิเคราะห์และวิพากษ์แนวคิดของ ศ.กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เรื่อง “อย่าติดกับดัก BRN”

ข้อจำกัดของแนวคิดที่ยึดมั่นในรัฐเดี่ยวแบบรวมศูนย์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกระบวนการสันติภาพ

ทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในปาตานี/ชายแดนใต้?

กระบวนการสันติภาพในปาตานี/แดนภาคใต้ จะมีความก้าวหน้าที่สำคัญในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา แต่ประเด็นนี้กลับไม่ได้รับความสนใจมากนักจากสังคมไทยโดยรวม

รอมฎอนสันติสุข ทำไมข้อตกลงรอมฎอนสันติสุข ถึงไม่มีในปี 2568

ทบทวน "รอมฎอนสันติสุข" บทเรียนและข้อสังเกตต่อกระบวนการสันติภาพปาตานี

กระบวนการสันติภาพปาตานีไร้ทิศทางภายใต้การควบคุมของทักษิณ

DI BAWAH SUTRADARA TAKSIN SINTAWATRA PROSES DAMAI PATANI MENJADI LIAR.วารสาร SURAT ฉบับที่ 112 มกราคม 2025 หน้าที่…

รัฐบาลประชาธิปไตยของไทยไม่มีจุดยืนในกระบวนการเจรจาสันติภาพ

นายกรัฐมนตรีไทยที่เพิ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อหลายเดือนที่ผ่านมา ก็ไม่มีจุดยืนที่ชัดเจนต่อกระบวนการสันติภาพที่ปาตานีเลย

TIMELINE 2 ทศวรรษหน้าตารัฐบาล และความมั่นคงไทยกับการจัดการความขัดแย้ง ปาตานี/ชายแดนใต้

THE MOTIVE ชวนทบทวนหน้าตา รัฐบาลไทย และฝ่ายงานความมั่นคงของไทย ที่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2547 - 2567