MelayuRaya กับชาตินิยม และวาทกรรมความสุดโต่ง

.แนวคิดเรื่อง “ชาตินิยม” (Nationalism) เป็นหัวข้อที่ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางในสาขาสังคมศาสตร์ การเมือง และปรัชญา ชาตินิยมไม่ได้มีรูปแบบเดียว แต่ถูกพัฒนาและปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละสังคม.เบเนดิก แอนเดอร์สัน (Benedict Anderson) เสนอแนวคิดที่ทรงอิทธิพลในหนังสือ Imagined Communities โดยเขามองว่า…

116 ปี สนธิสัญญา 1909 ข้อตกลงที่เปลี่ยนชะตากรรมปาตานี

สนธิสัญญา ค.ศ. 1909 ระหว่างสยามกับอังกฤษ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในประวัติศาสตร์ดินแดนแหลมมลายู

66/23 สูตรลับ สันติสุข ไม่เท่ากับ สันติภาพที่ยั่งยืนในปาตานี/ชายแดนใต้

เน้นไปที่ “การเมืองนำการทหาร” การให้โอกาสผู้ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการติดอาวุธกลับคืนสู่สังคม

ขออภัย วาทกรรมแห่งทักษิณ คำขอโทษเชิงสัญลักษณ์

ทักษิณ กล่าว “ขออภัย” ในหน้าข่าวเกือบทุกสำนัก

เช็คชื่อ สส.ปาตานี/ชายแดนใต้ สภาล่ม แก้รัฐธรรมนูญเพื่อสันติภาพ ยาวไปๆ

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เริ่มเลือนราง เมื่อกลเกมในรัฐสภา สส.พรรคร่วมรัฐบาล เดินออกจากห้องประชุม

VOTE NO – บัตรเสีย เลือกตั้งอบจ.68 ในปาตานี บทเรียนและสัญญาณทางการเมืองชายแดนใต้

.

“Melayu Raya” ความหวังแห่งอัตลักษณ์มลายู ข้อท้าทายด้านสิทธิ วัฒนธรรม และกระบวนการยุติธรรมไทย

.

TIMELINE 2 ทศวรรษหน้าตารัฐบาล และความมั่นคงไทยกับการจัดการความขัดแย้ง ปาตานี/ชายแดนใต้

THE MOTIVE ชวนทบทวนหน้าตา รัฐบาลไทย และฝ่ายงานความมั่นคงของไทย ที่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2547 - 2567

SAMA-SAMA SURVEY 2024

Projek SAMA SAMA (โปรเจคซามอ-ซามอ) ร่วมกับ We Watch สำรวจความคิดเห็นประชาชนในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ ประเด็นความพึงพอใจของคนในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ ต่อการดำเนินงานของ นายเศรษฐา ทวีสิน

รัฐบาลไทยไม่มีเอกภาพในการแก้ไขความขัดแย้งที่ปาตานี

การที่ขาดประสานงานระหว่างคณะรัฐมนตรีกับหน่วยงานอื่น เช่น กอ.รมน.ภาคสี่ และ สมช. เป็นเหตุให้นโยบายที่ถูกกำหนดไม่สอดคล้อง