3 กุมภา ถูกกำหนดเป็นวันมนุษยธรรมปาตานี เนื่องจากวิกฤตมนุษยธรรมที่มีนับไม่ถ้วน

ความจริงแล้ววิกฤตการละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ปาตานีมีให้เห็นอยู่มากมาย อาทิเช่น ภาวะที่ผู้ถือออาวุธอาศัยอยู่ในบริเวณที่เด็กกำลังใช้ชีวิตอยู่ มีการตั้งค่ายทหารภายในโรงเรียน หรือ ด้านนอกใกล้ๆ กำแพงโรงเรียน การตั้งค่ายอยู่ในโรงพยาบาล

ประวัติศาสตร์ปาตานี ยังคงเป็นหนามทิ่มแทง ความมั่นคงไทย EP.2

การที่ถูกเฝ้ามองติดตามเป็นการทำลายกระบวนการยุติธรรม ทำให้เสียหายมากกว่าผลดี อาจจะเป็นที่มาของความเคืองแค้นเป็นฟืนเป็นไฟ ที่พร้อมจะปะทุความขัดแย้งเพิ่มขึ้นก็เป็นไปได้ในอนาคต หวังว่าผู้เกี่ยวข้องคงจะไม่เลือกปฏิบัติและอธิบายอย่างมีเหตุและมีผล”

ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในการใช้กฎหมาย”นายกฯ ต้องแสดงสปิริต “ลาออก”

ประยุทธ์ บกพร่อง ตั้งแต่สืบทอดอำนาจ”ปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในการใช้กฎหมาย”นายกฯ ต้องแสดงสปิริต “ลาออก”กมลศักดิ์ ลีวาเมาะส.ส. นราธิวาส พรรคประชาชาติ

นายกฯ ต้องลาออก”ผมต้องซื่อสัตย์ต่อประชาชน ไม่หักหลังอุดมการณ์”

"ผมต้องซื่อสัตย์ต่อประชาชน ไม่หักหลังอุดมการณ์" อันวาร์ สาและ ส.ส. ปัตต

ผลโหวตมติอภิปรายไม่ไว้วาง ของ สส.ปาตานี/ชายแดนใต้

สส.ในพื้นที่ชายแดนใต้ 11 เขต และ อีก 1 บัญชีราย ลงมติโหวตไว้วางใจ และไม่ไว้วางใจ

ถึงคิวแกนนำคาร์ม็อบปัตตานี รับทราบข้อหา

ทั้ง 3 คน ให้การปฎิเสธทุกข้อกล่าวหา และพนักงานสอบสวนได้นัดกับผู้ต้องหาทั้ง 3 คน โดยทั้งสามเซ็นชื่อรับทราบวันนัดครั้งต่อไป

พล.ต.ต.จำรูญ เด่นอุดม เสนอปฏิรูปตำรวจด้วยการยกงานสอบสวน ไปอยู่กับกระทรวงยุติธรรม

เสนอยกงานสืบสวนไปอยู่กับกระทรวงยุติธรรม ต้องมีอิสระ ถ่วงดุลอำนาจกัน จึงจะเป็นธรรม

การจัดทำรายงานของ The Patani เกี่ยวข้องโดยตรงกับประยุทธ์ จันทร์โอชา

ฮากิมเผยว่า ที่มาของรายงานฯเป็นการส่งหนังสือ 5 ฉบับ ให้กับ 5 ฝ่าย ได้แก่ BRN, สมช., UN, ICRC และมาเลเซีย ซึ่งหลังจากได้ส่งหนังสือแล้ว

คืบหน้า คดีคาร์ม็อบยะลา เรียกเพิ่มอีก 9 รวม 12 ฅน

ผู้ถูกหมายเรียกในคดีคาร์ม็อบยะลา ครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 7 ส.ค. ได้เดินทางมารับทราบข้อกล่าวหาที่ สภ.เมืองยะลา จำนวน 4 ฅน

PATANIOLOGY-ปาตานีวิทยา.ทำความเข้าใจต่อกระบวนการสันติภาพในปาตานี กรณีการเจรจาระลอกใหม่.

เพราะเป็นปัญหาทางการเมืองที่มีรากเหง้ามาเป็นร้อย ๆ ปีซึ่งเป็นเรื่องของรัฐ-ชาติสมัยใหม่ (Nation-State) กับ ชาตินิยมชาติพันธุ์ (Ethnonationalism) โดยรากเหง้าของปัญหานั้นส่วนหนึ่งเป็นมรดกในยุคอาณานิคม ทําให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปด้วยความยากลําบาก และยังไม่มีท่าทีว่าจะยุติลงได้โดยง่าย .