เงาอำนาจรัฐและแรงต้านปฏิบัติการ BRN กับบทบาท อส. ในสมรภูมิปาตานี

เกิดเหตุการณ์การข่มขู่และโจมตีต่ออาสาสมัครรักษาดินแดน (อส.) อย่างต่อเนื่องในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนภาคใต้

PUASA และ บวช: การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน รากศัพท์ ภาษา และความศรัทธา

เคยสงสัยกันไหมว่าทำไมชาวมลายูในพื้นที่ปาตานีเรียกการถือศีลอดว่า "ปูวาซอ" (Puasa) ในขณะที่มุสลิมในพื้นที่อื่นของไทยใช้คำว่า "บวช"

บทวิเคราะห์และวิพากษ์แนวคิดของ ศ.กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เรื่อง “อย่าติดกับดัก BRN”

ข้อจำกัดของแนวคิดที่ยึดมั่นในรัฐเดี่ยวแบบรวมศูนย์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกระบวนการสันติภาพ

116 ปี สนธิสัญญา 1909 ข้อตกลงที่เปลี่ยนชะตากรรมปาตานี

สนธิสัญญา ค.ศ. 1909 ระหว่างสยามกับอังกฤษ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในประวัติศาสตร์ดินแดนแหลมมลายู

ทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในปาตานี/ชายแดนใต้?

กระบวนการสันติภาพในปาตานี/แดนภาคใต้ จะมีความก้าวหน้าที่สำคัญในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา แต่ประเด็นนี้กลับไม่ได้รับความสนใจมากนักจากสังคมไทยโดยรวม

รอมฎอนสันติสุข ทำไมข้อตกลงรอมฎอนสันติสุข ถึงไม่มีในปี 2568

ทบทวน "รอมฎอนสันติสุข" บทเรียนและข้อสังเกตต่อกระบวนการสันติภาพปาตานี

ทุนทางวัฒนธรรมของชนมลายูปาตานีคุณค่าทางวัฒนธรรมและศักยภาพทางเศรษฐกิจ

มรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษา ศิลปะ และความรู้ที่สั่งสมมาจากรุ่นสู่รุ่น

อุยกูร์ ชาติพันธุ์ในประวัติศาสตร์เส้นทางสายไหมการกลืนกลาย และวาทกรรมการพัฒนา โดยจีน

เชื้อสายหนึ่งในกลุ่มชนเตอร์กิก บรรพบุรุษได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาบริเวณ ที่เรียกว่า “เตอร์กิสถาน”

ซาลีมะห์ “มุอัลลัฟที่เข้มแข็ง”

ก๊ะเป็นฅนอุดรธานี  พ่อแม่แยกทางกันตอนที่เรียนอยู่ชั้น ม.6 ก๊ะพยายามส่งเสียตัวเองเรียนต่อ ป.ตรี ให้จบ แต่ด้วยฐานะตอนนั้นเรียนไม่จบ ส่วนหนึ่งเพราะกู้เงินเรียนจากรัฐบาลไม่ได้ ก๊ะ เจอกับสามีที่กรุงเทพฯ ตอนนั้นอายุ 23 ปี สามีเป็นฅนปัตตานี ไปเจอกันตอนที่ทำงานอยู่กรุงเทพฯ เราโกหกเขาว่าเราเป็นมุสลิม…

66/23 สูตรลับ สันติสุข ไม่เท่ากับ สันติภาพที่ยั่งยืนในปาตานี/ชายแดนใต้

เน้นไปที่ “การเมืองนำการทหาร” การให้โอกาสผู้ที่เกี่ยวข้องกับขบวนการติดอาวุธกลับคืนสู่สังคม