ตาดีกาเป็นอะไร ในสังคมมลายูปาตานี

.“ตาดีกา โรงเรียนที่ถูกจัดการโดยคนในชุมชน ตาดีกาไม่ใช่เป็นมิติของการสู้ไม่ใช่เป็นการขยับไปข้างหน้า แต่ตาดีกาเป็นมิติของการรักษาคงไว้กลัวจะหายไป”.The Motive ชวนผู้อ่านมาสนทนากับ อัสมาดี บือเฮง อดีต เลขาธิการ PerMAS ซึ่งปัจจุบันเป็นสมาชิก The PATANI ในประเด็นตาดีกา ต่อกรณีกลุ่มเยาวชนบ้านดูกู…

ประวัติศาสตร์ปาตานี ยังคงเป็นหนามทิ่มแทง ความมั่นคงไทย EP.3

อาจารย์ชาญวิทย์ ระบุว่า “นี่คือหนึ่งในหลาย ๆ อุปสรรคในการสร้างสันติสุขชายแดนใต้ เป็นความเขลาและความล้มเหลวของ "รัฐราชการไทย" ที่ไม่ยึดหลักสิทธิมนุษยชน ไม่เป็นประชาธิปไตย และไม่เป็นสากล

ว่าด้วยความแตกต่างหลากหลายและความมั่นคง ในวงเสวนาเเคมป์เเลกเปลี่ยน

ความทุกข์ที่หนักมากของพี่น้องสามจังหวัดภาคใต้ที่เราได้ยินก็คือ การถูกกดขี่ในนาม “ความมั่นคงของรัฐ” หรือที่จริงก็คือ ความมั่นคงของชนชั้นผู้กดขี่

ปาตานีในอดีต: การเลือกตั้งหลังการโค่นล้มระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

ผลการเลือกตั้งในสี่จังหวัดภาคใต้(ปาตานี) ในปีพ.ศ. 2476-2481 ซึ่งผลการเลือกตั้งหลังการโค่นล้มระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้เพียง 1 ปี

รัฐบาลไทยไม่สามารถสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเจรจาสันติภาพ

ในบทความสั้น “KERAJAAN THAI TIDAK MAMPU MENYELARASKAN SUASANA RUNDINGAN DAMAI” วารสาร Surat ฉบับที่ 83 เดือนกุมภาพันธ์ 2022 หน้าที่…

การแปลเปลี่ยน (transformation) ประเด็นเป็นกุญแจสำคัญในการแก้ไขความขัดแย้งที่ปาตานี

เพื่อแสวงหาแนวทางแก้ไขสำหรับความขัดแย้งที่ปาตานี (คู่กรณี) ทั้งสองฝ่ายจำเป็นอย่างยิ่งที่จะเปลี่ยนท่าที่เดิมที่ประนีประนอมมาเป็นท่าที่ที่ยอมประนีประนอมกัน

Pameran “Stop Torture”

“performance art (seni laku)” dalam pameran yang dinamakan “Stop Torture” yang melambangkan penahanan dan penyeksaan yang…

ปฏิบัติการ ปิดล้อม – ปะทะ – วิสามัญจากยุทธการตาเซะ ปี 63 จนถึง ยุทธการฮูแตยือลอ ปี 64

รวบรวมปฏิบัติการทางการทหาร ของหน่วยงานความมั่นคงไทยต่อฝ่ายกองกำลังติดอาวุธปาตานีปฏิบัติการ ปิดล้อม - ปะทะ - วิสามัญจากยุทธการตาเซะ ปี 63 จนถึง ยุทธการฮูแตยือลอ ปี 64.

กะตี คุณแม่แห่งบ้านเด็กกำพร้า NUSANTARA การเสียสละทั้งชีวิตเพื่ออีกหลายชีวิตที่ยังมีฝัน

The Motive ชวนทุกคนไปทำความรู้จักกับ กะตี หรือ “นูรฮายาตี เจ๊ะสมอเจ๊ะ” ถึงความเป็นมาของการที่ผู้หญิงคนหนึ่งอาสาทั้งชีวิตมาดูแลเด็กกำพร้า

เมื่อลูกเรียนซ้ำชั้น HOMESCHOOL จึงเป็นตัวเลือกเพื่อออกแบบการเรียนรู้ วาดภาพอนาคตของลูก

การเริ่มต้นการเรียนในรูปแบบ โฮมสคูล และปัญหาของการจัดการเรียนรู้ในช่วงโควิด19