นายกรัฐมนตรีไทยที่เพิ่งได้รับการแต่งตั้งเมื่อหลายเดือนที่ผ่านมา ก็ไม่มีจุดยืนที่ชัดเจนต่อกระบวนการสันติภาพที่ปาตานีเลย
Tag: ชายแดนใต้/ปาตานี
TIMELINE 2 ทศวรรษหน้าตารัฐบาล และความมั่นคงไทยกับการจัดการความขัดแย้ง ปาตานี/ชายแดนใต้
THE MOTIVE ชวนทบทวนหน้าตา รัฐบาลไทย และฝ่ายงานความมั่นคงของไทย ที่มีบทบาทในการแก้ไขปัญหาตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2547 - 2567
นักล่าอาณานิคมไทยไม่เคารพ “ฉันทามติทั่วไป” ระหว่างบีอาร์เอ็นกับรัฐบาลไทย
การพบปะกันครั้งนั้นได้สร้างความหวังว่าสันติภาพจะเกิดขึ้นในพื้นที่ที่ประสบความขัดแย้งอันยาวนาน แต่ความคืบหน้าของกระบวนการสันติภาพที่ผ่านมาแสดงให้เห็นว่า การเจรจายังไม่บรรลุผล
KEPERCAYAAN/KEYAKINAN MASYARAKAT PATANI TERHADAP SISTEM KEADILAN THAILAND.
1. Anda tahukah atau tidak? bahwa keluarga dan kerabat korban dari peristiwa Tak Bai adalah penggugat…
ผลสำรวจประเด็น “ตากใบ ความเชื่อมั่นประชาชนปาตานี/ชายแดนใต้ต่อความยุติธรรมไทย”
. 1.ทราบหรือไม่ ว่าครอบครัวผู้เสียหายและญาติจากเหตุการณ์ตากใบเป็นโจทก์ยื่นฟ้องเจ้าหน้าที่รัฐ – ทราบ 87.2% – ไม่ทราบ 12.8% 2.เชื่อมั่นในความเป็นธรรม ของกระบวนการยุติธรรมไทย ในกรณีคดีตากใบแค่ไหน – เชื่อมั่นมาก 14.2% –…
การดำเนินการต่อผู้กระทำอาญาในตากใบเป็นเช่นนี้เพราะสยามไม่มีความจริงจังในการสร้างสันติภาพ
PENGABAIAN PARA PELAKU JENAYAH TAKBAI BUKTI SIAM TIADA KOMITMEN BERDAMAI .วารสาร SURAT ฉบับที่ 109 ตุลาคม 2024…
SAMA-SAMA SURVEY 2024
Projek SAMA SAMA (โปรเจคซามอ-ซามอ) ร่วมกับ We Watch สำรวจความคิดเห็นประชาชนในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ ประเด็นความพึงพอใจของคนในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ ต่อการดำเนินงานของ นายเศรษฐา ทวีสิน
โรงเรียนตาดีกาจะคงอยู่อย่างไรท่ามกลางโลกสมัยใหม่
ระบบการศึกษาของตาดีกา คือการจัดการกันเองของชุมชน ของประชาชนด้วยกัน แต่เมื่อทางการได้เข้ามาแทรกแซงผ่านตัวบทกฎหมาย ผ่านหน่วยงานกระทรวงการศึกษา ปัญหายิบย่อยจึงได้อุบัติขึ้นตามมา
TADIKA : 106 ปี เส้นทางของโรงเรียนตาดีกา
การศึกษาสำหรับเด็ก ๆ ในปาตานีเท่าที่ปรากฏหลักฐานมีอายุประมาณ 106 ปี
ท่าที่ของรัฐบาลที่ไม่แสดงถึงสัญญาณแห่งการสร้างสันติภาพ
รัฐบาลก็ยังสร้างความสับสนเกี่ยวกับการสร้างสันติภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยให้ความสำคัญกับประเด็นเศรษฐกิจมากกว่าการสร้างสันติภาพ