ท่าที่ของรัฐบาลที่ไม่แสดงถึงสัญญาณแห่งการสร้างสันติภาพ

รัฐบาลก็ยังสร้างความสับสนเกี่ยวกับการสร้างสันติภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยให้ความสำคัญกับประเด็นเศรษฐกิจมากกว่าการสร้างสันติภาพ

รัฐบาลไทยไม่มีเอกภาพในการแก้ไขความขัดแย้งที่ปาตานี

การที่ขาดประสานงานระหว่างคณะรัฐมนตรีกับหน่วยงานอื่น เช่น กอ.รมน.ภาคสี่ และ สมช. เป็นเหตุให้นโยบายที่ถูกกำหนดไม่สอดคล้อง

การดำเนินการตาม JCPP ในระดับพื้นที่เป็นไปได้จริงหรือไม่

การลงนามของคณะพูดคุยทั้งสองฝ่าย บีอาร์เอ็นกับรัฐบาลไทยใน JCPP ในเดือนกันยายนดังที่ถูกชี้แจงมาโดยผู้อำนวยความสะดวกก่อนหน้านั้น (ตัน ศรี พล.อ. ซุลกิฟลี) คงไม่ทัน

ข้อท้าทายสำหรับการเจรจาสันติภาพปาตานีและวิกฤตความไว้วางใจระหว่างคู่กรณี

วิกฤตความไว้ใจกัน ตามที่มีความขัดแย้งอันยืดยาวนาน ระหว่างนักล่าอาณานิคมไทยกับนักต่อสู้ปลดแอกปาตานียังมีความไม่ไว้ใจกันอย่างสูงอยู่

รากเหง้าของความขัดแย้งเป็นประเด็นสำคัญ จึงต้องได้รับการพิจารณาในกระบวนการสันติภาพ

รากเหง้าหรือสาเหตุหลักของความขัดแย้งที่ปาตานีไม่ใช่ความยากจน ความอยุติธรรม ฯลฯ

บีอาร์เอ็นในสายตาของประชาชนปาตานี ประชาคมอาเซียนและสังคมนานาชาติ

BRN DI MATA RAKYAT PATANI, KOMUNITI ASEAN DAN MASYARAKAT ANTARABANGSA.วารสาร Surat ฉบับที่ 103 หน้าที่ 5-6 เดือนตุลาคม…

ปาตานี ปาเลสไตน์ – ดินแดนแห่งบรรดาชะฮีด

ดินแดนปาเลสไตน์ถูกยึดครองและตกเป็นอาณานิคมของระบอบไซออนิสต์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1948

รัฐบาลไทยต้องมีจิตใจที่เปิดกว้างต่อประเด็นการลุกขึ้น(ตื่นตัวทางการเมือง)

การลุกขึ้น(ตื่นตัวทางการเมือง)ของชนชาติบนโลกนี้เป็นเรื่องปกติ ทุกสิ่งที่มีชีวิตต้องการเสรีภาพตามธรรมชาติ

การแก้ไขความขัดแย้งของพรรคก้าวไกล

ความขัดแย้งที่ปาตานีเกิดจากการปกครองแบบอาณานิคมของสยาม/ไทยต่อรัฐปาตานีตั้งแต่ ค.ศ. 1785

รำลึกถึงครบ 19 ปีโศกนาฏกรรมตากใบ – บาดแผลและความทุกข์ของประชาชาติปาตานีในเดือนรอมฎอน

วันที่ 11 ของเดือนรอมฎอนเป็นประวัติศาสตร์โศกเศร้าสำหรับประชาชาติมลายูปาตานี