หมุดหมายความขัดแย้งทางการเมืองชายแดนใต้ คือ จุดสำคัญในการคลายปม หากต้องการที่จะแก้ปัญหา

บาดแผลพวกนี้หมายความว่า เรื่องการหายตัวไปของฮัจยีสุหลง คือ ความทรงจำรวมหมู่ของชุมชนทางการเมืองในพื้นที่แห่งนี้

ทายาทหัวหน้าเสรีไทยภาคอีสานเผย การอุ้มฅนให้หาย เป็นวิธีการที่ผิดมนุษย์ จะรักษาอำนาจได้ แต่ไม่มีสิทธิ์ลดทอนความเป็นมนุษย์

จุฑาทิพย์ เปิดเผยว่า ในปี 2495 ปู่ทวด (เตียง ศิริขันธ์) หายตัวไปจากการถูกลักพาตัว หลังจากนั้นพบเป็นศพถูกฆ่าตาย

ญาติอับดุลเลาะ อีซอมูซอ ร่วมสืบข้อเท็จจริงการตายในค่ายทหาร ที่ศาลสงขลา 29 มิถุนายนนี้

ศาลจังหวัดสงขลานัดไต่สวนการตายของนายอับดุลเลาะ อีซอมูซอ เสียชีวิตในระหว่างควบคุมตัวโดยเจ้าหน้าที่ทหาร ในวันที่ 29 มิ.ย. 2563

บุคคลสูญหายใน จชต. มีมากถึง 33 ฅน พบมากสุดในปี 2547, 2548, 2550 ตรงกับช่วงยุทธการพิทักษ์ชายแดนใต้

ปี 2550 เป็นช่วงยุทธการพิทักษ์ชายแดนใต้ มีการคัดกรองแยกปลาออกจากน้ำ ซึ่งช่วงนั้นจะเป็นช่วงที่มีบุคคลสูญหายมากที่สุด

ทนายสมชาย นีละไพจิตร ยังอยู่ ตอนที่ 5 : จากลูกศิษย์ สู่การเป็นทนายร่วมกับทนายที่ถูกบังคับให้สูญหาย

ตัวเองไม่รู้จักทนายที่ไหนเลย ขออยู่กับอาจารย์ต่อได้หรือไม่ อาจารย์ก็บอกว่าได้แต่ที่นี่ไม่มีค่าจ้างให้ คำตอบตอนนั้นก็คือ “ขอทำต่อครับ”

ทนายสมชาย นีละไพจิตร ยังอยู่ ตอนที่ 4 : ทนายที่ถูกบังคับให้สูญหาย เคยช่วยเหลือชนเผ่าอาข่าเรียกร้องสิทธิความเป็นฅน

ต่อสู้กันจนมาถึงปี 2545 เป็นการชุมนุมเพื่อเรียกร้องอยากจะขอสัญชาติ เพราะเราอยากพิสูจน์สถานะบุคคล

ทนายสมชาย นีละไพจิตร ยังอยู่ ตอนที่ 3 : วิถีของทนายที่ถูกบังคับให้สูญหาย ผ่านการเล่าเรื่องของลูกศิษย์

อาจารย์เขาจะไม่สอนว่าต้องทำอย่างนั้นหรือย่างนี้ แต่เราจะสามารถเรียนรู้จากตัวอาจารย์เอง อยากรู้อะไรก็ตามอาจารย์ไปแล้วก็ดูเอาเอง

ทนายสมชาย นีละไพจิตร ยังอยู่ ตอนที่ 2 : เมื่อกระบวนการยุติธรรมยังยอมรับ “การบังคับบุคคลให้สูญหาย”

ปัญหาการทรมานรวมทั้งการอุ้มหายมีความยากลำบากที่เราจะต้องผลักดันกฎหมายและเรียกร้องโทษที่สูงกว่ากรณีทั่วไป

ทนายสมชาย นีละไพจิตร ยังอยู่ ตอนที่ 1 : เมื่อกระบวนการยุติธรรมไร้คำตอบ ปล่อยโชคชะตารับผิดชอบผู้ถูกบังคับให้สูญหาย

ดิฉันคิดว่าถ้าทนายสมชายยังอยู่ในวันนี้ เขาจะดีใจ และภาคภูมิใจในสิ่งที่เขาได้ทำมา